Publication Date : April 17, 2025
(1) สร้างรายได้จากการบริหารจัดการความหลากหลายทางชีวภาพ (Generate revenue)
(2) วางกรอบงบประมาณที่เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพอย่างเหมาะสม (Realign current expenditure)
(3) หลีกเลี่ยงค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ฟื้นฟูทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต (Avoid the need for future biodiversity expenditures)
(4) เกิดการลงทุนด้านความหลากหลายทางชีวภาพที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น (Deliver financial resources more effectively and efficiently)
สำหรับพื้นที่เกาะเต่า มีการใช้รูปแบบ “user charge” ในการสร้างรายได้จากผู้ใช้บริการจากความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศน์ โดยแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ธรรมชาติมีศักยภาพในการเก็บค่าธรรมเนียมจากนักท่องเที่ยว เพื่อนำรายได้ที่ได้รับไปใช้ในการฟื้นฟูดูแลรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเฉพาะปะการัง
โครงการมุ่งเน้นในเรื่องการสร้างรายได้ให้เกิดประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ ทำให้รัฐบาลท้องถิ่น สามารถนำเงินส่วนนี้ไปดูแลเรื่องการจัดการขยะ เรื่องการดูแลปะการัง การส่งเสริมอาชีพท้องถิ่น และการสร้างความตระหนักให้กับเยาวชน รายได้จากจัดเก็บของท้องถิ่นจะนำไปสู่โครงการการอนุรักษ์ และการพัฒนาการที่ชุมชนท้องถิ่นสามารถจัดการตนเองได้ ในเรื่องของการทำแผนในเรื่องของการจัดการงบประมาณก็จะทำให้เกิดความยั่งยืนในแง่ของการสร้างให้เกิดกระบวนการและกลไกของชุมชน ที่สามารถดูแลทรัพยากรธรรมชาติ ของเขาได้อย่างยั่งยืน ตลอดไป
ทำไมคนต่างจังหวัดต้องดูรายการทีวีที่มีเนื้อหาส่วนใหญ่เกี่ยวกับคนกรุงเทพฯ เราจะมีสถานีโทรทัศน์ชุมชนที่ผลิตเนื้อหาเพื่อตอบโจทย์การรับรู้ข่าวสารของคนในชุมชนและพื้นที่ใกล้เคียงกับที่ตนอาศัยอยู่ได้หรือไม่ และจะทำได้อย่างไร เหล่านี้เป็นคำถามที่นำมาสู่โครงการ “ทีวีชุมชนอันดามันมั่นคง”
© Copyright 2020 by Raks Thai Foundation.